Recent Posts

0
More

transfer.sh – Easy file sharing from the command line

  • June 24, 2018

transfer.sh เป็นบริการ file sharing แบบต้องใช้ command line ตอนนี้ก็รองรับทั้งการฝากไฟล์ที่อยู่ในเครื่อง (local file) s3 (Amazon S3) และ gdrive (Google Drive) โดยฟีเจอร์หลัก ๆ ก็มี ผ่าน shell command ได้ (Powershell ด้วย)...

0
More

สร้าง docker container สำหรับทำ REST API กัน – Full fake data

  • June 19, 2018

ในวันที่ต้อง Mock API แบบด่วน ๆ สำหรับทดสอบ Front-end (แต่ Back-end จริง ๆ มันยังอยู่แค่ในร่างออกแบบ) งั้นก็เริ่มกันเลย เราใช้ json-server เป็นตัวช่วยทำ Mock API ซึ่งก็ตอบโจทย์และเร็วสุดละ สิ่งที่เราต้องทำเพิ่มคือสร้างชุดข้อมูลสำหรับทดสอบเท่านั้นเอง npm install -g json-server ส่วนการสร้างชุดข้อมูลก็ใช้ faker.js...

0
More

#ยังคิดถึงเสมอ

  • May 29, 2018

กะละมังอาบน้ำของมังกี้ยังวางอยู่หน้าบ้านเหมือนเดิม สายจูง ลูกบอลอีกลูกก็ยังอยู่ในลังของเล่นอยู่ บางครั้งก็มีขนเธอปลิวมาบ้าง ถึงแม้เราจะทำความสะอาดบ้านครั้งใหญ่ไปหลายรอบละ ต้นมะลิที่ปลูกไว้หลังบ้าน ตรงที่เธอนอนอยู่… ต้นที่เป็นของเธอก็ยังรอดปลอดภัย ผ่านมาปีนึงละ ก็ยังคิดถึงเธอเสมอ    

0
More

มินิรีวิว Mi Notebook Pro กับหนึ่งเดือนที่ผ่านมา

  • May 15, 2018

เมื่อช่วงเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว (2017) Xiaomi ได้จัดงาน Mi Product Launch และเปิดตัว Mi Notebook Pro แล็บท็อปสุดบางสเปคระดับบน ซึ่งเป็นรุ่นต่อจาก Mi Notebook Air โดยเปิดตัวรุ่นย่อยออกมาแยกตามซีพียูและความจุ ดังนี้ Core i5 + RAM 8GB ราคา 5599 หยวน...

0
More

Convert pdf to image – แปลงไฟล์ PDF เป็นรูปภาพด้วย Linux บน Windows กัน

  • May 5, 2018

จั่วหัวมาแบบนี้ก็อย่าเพิ่งสับสน ณ วันนี้ (พฤษภาคม 2561) Linux กับ Windows เป็นมิตรกันมากกกกกกกกกซึ่งก็ถือเป็นเรื่องที่ดีจริง ๆ สำหรับคนในวงการคอมพิวเตอร์และทั่ว ๆ ไปถือว่าดีกับทุกฝ่ายหล่ะกัน (ลองหาข่าวช่วงก่อนหน้านี้ดูคร่าว ๆ ได้ว่าสังคมสรรเสริญเรื่องนี้กันขนาดไหน) ถ้าใครอยากลองใช้งาน Linux บน Windows ก็ทำตามคร่าว ๆ ประมาณนี้ (แบบละเอียดก็ตามเอกสารตัวนี้ได้เลย) เปิด PowerShell...

0
More

Get random 2 rows from each group

  • March 26, 2018

การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) หมายถึง กระบวนการเลือก “ตัวอย่าง” จาก “ประชากร” เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวแทนของประชากรในการให้ข้อมูล การที่จะเลือกตัวอย่างให้เป็นตัวแทนที่ดีของประชากรได้นั้น จะต้องทำการเลือกแบบสุ่ม (random) หรือเลือกอย่างไม่ลำเอียง (unbias) นี่เป็นความหมายของการสุ่มตัวอย่าง ซึ่งหลายครั้งเราก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะเลือกข้อมูลบางกลุ่มข้อมูลมาทำงาน ปกติก็ใช้หลักจากข้างบนนั่นแหล่ะเลือกมา (จะใช้วิธี 1-5 ก็เอาที่สบายใจ) ในกลุ่มมีคำถามนึงน่าสนใจ ถามขึ้นในกลุ่มตามนี้ คร่าว ๆ ก็คืออยากได้กลุ่มข้อมูลมาจำนวนนึงแยกตามรหัส/กลุ่มการวินิจฉัยโรค มาดูอีก 1...